ประเภทของนิติกรรม
- การกระทำ หรือการแสดงเจตนาที่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายได้ห้ามเอาไว้ “เป็นมาตรา” อย่างชัดแจ้ง เช่น พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 ได้บัญญัติห้ามมิให้บุคคลเรียกดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินเกินอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ซึ่งการตกลงเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราดังกล่าวเป็นนิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย การเรียกดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปี จึงตกเป็นโมฆะ แต่อย่างไรก็ตาม ในส่วนของต้นเงินก็ยังมีผลสมบูรณ์ต่อไป เพราะตามกฎหมายดังกล่าวห้ามเฉพาะเรื่องของการเรียกดอกเบี้ยเท่านั้น หรือกรณีการตกลงคิดดอกเบี้ยทบต้น ก็เป็นเรื่องที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้าม ตามมาตรา 655 หากมีการตกลงฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าว ก็ย่อมทำให้นิติกรรมนั้นมีผลเป็นโมฆะ แต่ข้อตกลงนั้นก็ไม่มีผลกระทบอันจะทำให้ต้นเงินตกเป็นโมฆะไปด้วยแต่อย่างได เป็นต้น
- การกระทำ
หรือการแสดงเจตนาที่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายมิได้ห้ามเอาไว้โดยตรงแต่มีกฎหมายอาญาบัญญัติว่าการกระทำหรือการแสดงเจตนานั้นเป็นความผิด
เช่นการฆ่าคน การทำร้ายร่างกายผู้อื่น
การที่ชายและหญิงทำการสมรสกันในขณะที่ฝ่ายชาย หรือ ฝ่ายหญิง
หรือทั้งสองฝ่ายมีคู่สมรสอยู่แล้ว หรือ กรณีพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 มาตรา 24
กำหนดว่าสิทธิเรียกร้องเงินจากกองทุนไม่อาจโอนกันได้
การโอนสิทธิเรียกร้องดังกล่าวไปให้คนอื่นจึงตกเป็นโมฆะ
3.2.2 วัตถุประสงค์ของนิติกรรมเป็นการพ้นวิสัย
การพ้นวิสัยคือ นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ที่เป็นไปไม่ได้ อันจะทำให้นิติกรรมนั้นมีผลเป็นโมฆะ การพ้นวิสัยจึงประกอบไปด้วย 2 กรณีดังต่อไปนี้
1) การไดๆ อันไม่อาจเป็นไปได้โดยแน่แท้ หรือไม่อาจเป็นไปได้ตามธรรมชาติ เช่น การทำสัญญาจ้างย้ายเทือกหิมาลัยมาไว้ที่สนามหลวง หรือทำสัญญาจ้างย้ายมหาสมุทรแปซิฟิกมาไว้ที่เชียงใหม่ เป็นต้น ซึ่งโดยสภาพตามธรรมชาติแล้วไม่อาจทำตามวัตถุประสงค์ของนิติกรรมดังกล่าวได้เป็นแน่แท้
2) นิติกรรมที่มุ่งถึงสิ่งไดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ในขณะเดียวกันก็ปรากฎว่าในขณะทำนิติกรรมของสิ่งนั้นไม่มีตัวตนอยู่แล้ว เช่น แดง ตกลงทำสัญญาซื้อขายแจกันกับ ดำ ปรากฎว่าในขณะทำสัญญาซื้อขายกันนั้นแจกันที่ต้องการจะซื้อขายกันได้ตกแตกเสียแล้ว เป็นต้น
2.1 นิติกรรมฝ่ายเดียว(Unilateral Act) หมายถึง นิติกรรมซึ่งมีการแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายเดียว และเมื่อมีการแสดงเจตนาออกมาแล้วแม้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะไม่ยินยอมก็มีผลสมบูรณ์ เช่น พินัยกรรม การเลิกสัญญา เป็นต้นความสมบูรณ์ของนิติกรรม
2.2 นิติกรรมหลายฝ่าย(Multilateral Act) หมายถึง นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลสองฝ่าย และก่อให้เกิดผลต่อทั้งสองฝ่าย เช่น การทำสัญญาต่างๆ
นิติกรรมจะเกิดขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายได้นั้นจะต้องเป็นนิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการกระทำซึ่งมีวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรมที่ชอบด้วยกฎหมาย อีกทั้งจะต้องเป็นนิติกรรมที่มิได้เกิดขึ้นจากบุคคลซึ่งหย่อนความสามารถ อันจะทำให้นิติกรรมที่เกิดขึ้นนั้นมีผลสมบูรณ์ กล่าวคือ:-
3.1 ความสามารถของบุคคลผู้ทำนิติกรรม
มาตรา 153 บัญญัติว่า “การใดมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยความสามารถของบุคคล การนั้นเป็นโมฆียะ” ดังนั้น การแสดงเจตนาทำนิติกรรมจะเกิดผลโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายได้ต่อเมื่อได้กระทำโดยบุคคลผู้มีความสามารถ หากการทำนิติกรรมโดยบุคคลซึ่งหย่อนความสามารถแล้วก็จะส่งผลให้นิติกรรมนั้นเป็นโมฆียะ นั่นหมายความว่า นิติกรรมนั้นมีความสมบูรณ์ใช้บังคับกันได้ตามกฎหมาย ตั้งแต่ทำนิติกรรมนั้นจนกว่านิติกรรมนั้นจะถูกบอกล้าง ซึ่งหากถูกบอกล้างแล้วก็จะทำให้นิติกรรมนั้นเป็นโมฆะมาตั้งแต่แรกเริ่มทำนิติกรรม แต่ถ้าไม่มีการบอกล้างนิติกรรมนั้นก็จะสมบูรณ์ใช้บังคับกันได้ตามกฎหมายตลอดไป หรือทางกลับกันหากในกรณีที่มีการให้สัตยาบัน (ให้การรับรอง) ก็จะทำให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์ใช้บังคับกันได้ตามกฎหมายตลอดไปเช่นกัน
สำหรับบุคคลที่จะแสดงเจตนาทำนิติกรรมได้นั้น ได้แก่ บุคคล 2 ประเภท คือ บุคคลธรรมดา และนิติบุคคล อย่างไรก็ตาม ในการทำนิติกรรมของนิติบุคคลจะต้องมีการแต่งตั้งบุคคลธรรมดาเพื่อให้เป็นผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคล แต่การกระทำนั้นจะต้องอยู่ภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนด และอยู่ภายในวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล เพราะหากมีการทำนิติกรรมนอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนด หรือไม่อยู่ในกรอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลแล้ว การกระทำนั้นก็จะไม่ผูกพันนิติบุคคล โดยถือเสมือนว่านิติบุคคลนั้นมิได้ทำขึ้นเลย
สำหรับกรณีบุคคลธรรมดา สามารถทำนิติกรรมได้เต็มความสามารถ เว้นแต่บุคคลผู้หย่อนความสามารถ ซึ่งมีอยู่ 4 ประเภทด้วยกัน คือ
3.1.1 ผู้เยาว์(Minor)
3.1.2 คนไร้ความสามารถ(Incompetent person)
3.1.3 คนวิกลจริต(Unsound mind person)
3.1.4 คนเสมือนไร้ความสามารถ(Quasi incompetent person)
3.2 วัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม
วัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม คือ ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ผู้แสดงเจตนาทำนิติกรรมประสงค์ให้เกิดขึ้น เช่น วัตถุประสงค์ของการเช่าบ้าน หากพิจารณาจากฝ่ายผู้เช่า คือการได้อยู่อาศัยในบ้านเช่า ส่วนวัตถุประสงค์ของผู้เช่า คือต้องการประโยชน์จากเงินค่าเช่าบ้าน เป็นต้น
มาตรา 153 บัญญัติว่า “การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย หรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ”
จากบทบัญญัติแห่งมาตรา 150 สามารถแยกพิจารณาโดยกำหนดวัตถุประสงค์ของนิติกรรมได้ดังนี้
3.2.1 วัตถุประสงค์ของนิติกรรมต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
3.2.2 วัตถุประสงค์ของนิติกรรมเป็นการพ้นวิสัย
3.2.3 วัตถุประสงค์ของนิติกรรมเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
3.2.1 วัตถุประสงค์ของนิติกรรมต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
ในกรณีวัตถุประสงค์ของนิติกรรมที่ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายนั้น กฎหมายได้บัญญัติเอาไว้อย่างชัดเจนแจ้งแล้วว่ากรณีไหนบ้างที่กฎหมายห้ามมิให้กระทำ ซึ่งมี 2 กรณี อันได้แก่
3.2.3 วัตถุประสงค์ของนิติกรรมต้องไม่ขัดความสงบเรียบร้อยและศิลธรรมอันดีของประชาชน“ศีลธรรมอันดีของประชาชน” หมายถึง ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีของประชาชนในสังคม ถ้าสังคมถือว่าอะไรเป็นเรื่องศีลธรรมอันดีงามแล้ว สิ่งนั้นก็เป็นศีลธรรมอันดีงาม ทั้งนี้โดยคำนึงถึงความรู้สึกของคนส่วนใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามศีลธรรมอันดีงามอาจเปลี่ยนไปได้ตามยุคสมัย และตามแต่สังคม เช่น ในปี พ.ศ.2501 การตกลงฮั้วกันสมยอมในการสู้ราคาของผู้เข้าประมูลงานของรัฐบาล ถือว่าเป็นพาณิชนโยบาย ไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน แต่ต่อมาในปี พ.ศ.2519 การตกลงกันเข้าสู้ราคา หรือการฮั้ว ศาลฎีกาได้มีคำวินิจฉัยว่า เป็นการอันขัดต่อความสงบเรียบ หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เพราะทำเป็นการหลอกลวงหน่วยงานของรัฐอันเป็นการบีบบังคับเอาเงินของรัฐโดยไม่สุจริต
“ความสงบเรียบร้อยของประชาชน” หมายถึง การอันเกี่ยวด้วยประโยชน์ทั่วไปของสาธารณชน อันมีหลักในการพิจารณาดังนี้
1. ความสงบเรียบร้อยทางการเมือง การปกครอง โดยถือหลักว่าในการปกปักรักษาอธิปไตยของรัฐ เช่น การทำนิติกรรมตกลงกันให้มีการเปลี่ยนแปลงอำนาจอธิปไตยของรัฐ หรือตกลงกันให้มีการถอนฟ้องคดีอาญาแผ่นดินโดยยอมให้เงินเป็นการตอบแทน
2. ความสงบเรียบร้อยในทางครอบครัว เช่น การทำสัญญาไม่ให้บุคคลร่วมกินหลับนอนเป็นสามีภริยากัน หรือการทำนิติกรรมเปลี่ยนแปลงอำนาจปกครองบุตร หรือมารดาทำสัญญาว่าจะไม่อยู่ด้วยกัน หรือภริยาทำนิติกรรมให้เงินแก่หญิงอื่นเพื่อให้มาเป็นเมียน้อย เป็นต้น
3.ความสงบเรียบร้อยทางวิชาชีพสำหรับวิชาชีพ ด้วยเหตุที่วิชาชีพบางวิชาชีพมีความสำคัญเกี่ยวกับประชาชน หากปล่อยให้มีการประกอบวิชาชีพอย่างเสรีแล้วก็จะกระทบต่อประชาชนหมู่มาก กฎหมายจึงกำหนดให้การตกลงบางอย่างของผู้ประกอบวิชาชีพเป็นการอันขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน เช่น ทนายความตกลงขอรับค่าทนายความโดยแบ่งเอาจากทรัพย์สินที่พิพาทฟ้องร้องกัน
4.ความสงบเรียบร้อยในทางเศรษฐกิจ โดยปกติบุคคลมีเสรีภาพในการแสดงเจตนา แต่การแสดงเจตนาอาจจะเกิดการเอารัดเอาเปรียบกันได้ เพราะเหตุคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งมีอำนาจทางเศรษฐกิจที่เหนือกว่า มีอำนาจเงินที่มากกว่า รัฐจึงต้องบัญญัติกฎหมายเข้ามาแทรกแซงการทำสัญญาที่เกี่ยวกับธุรกิจมากขึ้น และข้อตกลงระหว่างบุคคลหากขัดต่อบทบัญญัติดังกล่าวแล้วก็จะเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน เช่น นายแดง ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลให้ส่งข้าวสารไปขายต่างประเทศ นายแดงจะนำใบอนุญาตดังกล่าวไปขายให้นายดำ เพื่อนายดำจะได้ประกอบธุรกิจส่งข้าวสารไปขายในต่างประเทศแทนนายแดง ถือว่าสัญญานั้นขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน เป็นโมฆะ หรือกรณีการกู้ยืมเงินไปค้าฝิ่น สัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวก็เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน เป็นโมฆะ เป็นต้น
ตัวอย่าง ของศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น กรณีหญิงมีสามีแล้วไปอยู่กินกับชายอื่นจนเกิดมีบุตรด้วยกัน แล้วหญิงมีสามีนั้นก็ไปร้องขอต่อศาลเพื่อให้ศาลสั่งว่าชายที่ไปอยู่กินด้วยกันนั้นเป็นบิดาของบุตร ต่อมาสามีของหญิงคนนั้นได้คัดค้านต่อศาลว่า การเป็นชู้ชั่วทั้งชายหญิงหากศาลสั่งให้เด็กเป็นบุตรของชายชู้ย่อมเป็นการสนับสนุนให้ชายหญิงประพฤติผิดศีลธรรม ศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า การประพฤติผิดศีลธรรมเป็นเรื่องของหญิงกับชายชู้ เด็กไม่ได้มีส่วนในการกระทำความผิดด้วย ศาลจึงพิพากษาให้เด็กเป็นบุตรอันแท้จริงของบิดา(ชายชู้) ก็ไม่ถือว่าเป็นการขัดต่อศีลธรรมอันดีแต่อย่างได หรือกรณีที่ชายมีภริยาอยู่แล้วแต่ได้ไปตกลงกับหญิงอื่นให้มาเป็นภริยาอีกคน เช่นนี้ย่อมเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ตามมาตรา 150 เป็นต้น
แบบของนิติกรรม(Effective form)
มาตรา 151 บัญญัติว่า “การใดมิได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้การนั้นเป็นโมฆะ”
แบบของนิติกรรม หมายถึง พิธีการที่กฎหมายกำหนดไว้ และบังคับให้ผู้ที่แสดงเจตนาทำนิติกรรมต้องปฏิบัติตามเพื่อให้การแสดงเจตนาของตนสมบูรณ์เป็นนิติกรรม และหากผู้แสดงเจตนามิได้ทำให้ถูกต้องตามแบบพิธีการที่กฎหมายกำหนดแล้ว นิติกรรมนั้นก็จะเป็นโมฆะ
แบบที่กฎหมายกำหนดเอาไว้แบ่งออกได้เป็น 4 กรณี คือ
4.1 นิติกรรมที่ต้องทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ นิติกรรมประเภทนี้เป็นนิติกรรมที่มีความสำคัญ กฎหมายจึงกำหนดให้ต้องทำเป็นหนังสือ และต้องจดทะเบียน กล่าวคือ ต้องให้เจ้าพนักงานบันทึกเกี่ยวกับนิติกรรมนั้นๆ เอาไว้เป็นหลักฐาน เช่น การทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์พิเศษ การจำนอง การขายฝาก การแลกเปลี่ยน เป็นต้น
4.2 นิติกรรมที่ต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท เป็นต้น
4.3 นิติกรรมที่ต้องทำเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ กรณีนี้แม้จะต้องทำเป็นหนังสือต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่แต่ก็มิได้มีกฎหมายบังคับว่าจะต้องจดทะเบียนแต่อย่างได เช่นการทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองจะต้องทำต่อหน้านายอำเภอ การคัดค้านตั๋วเงินก็ต้องคัดค้านต่อนายอำเภอ เป็นต้น
4.4 นิติกรรมที่ต้องทำเป็นหนังสือ เป็นกรณีที่ผู้ทำนิติกรรมจะต้องทำเป็นหนังสือกันเองเพื่อไม่ให้การแสดงเจตนานั้นเป็นการเลื่อนลอยจนเกินไป เช่น การทำสัญญาเช่าซื้อ การรับสภาพหนี้ ตั๋วเงิน การโอนหุ้น
reekadorosey07 @
ตอบลบgmail.com
คุณไม่จำเป็นต้องกู้เงินเร่งด่วนเพื่อแก้ปัญหาความต้องการทางการเงินของคุณ? เรามีเงินให้สินเชื่อตั้งแต่ 5,000.00 เพื่อ 250,000,000.00 แม็กซ์เรามีความน่าเชื่อถือที่มีประสิทธิภาพได้อย่างรวดเร็วและแบบไดนามิกที่มีการตรวจสอบเครดิตไม่มีและมีการรับประกัน 100% กู้ยืมจากต่างประเทศในช่วงนี้ นอกจากนี้เรายังได้ออกเงินให้กู้ยืมในยูโรบาทไทยบาทสเตอร์ลิงและอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินดอลลาร์เป็น 2% ของสินเชื่อทั้งหมดหากคุณสนใจที่ได้รับกลับมาให้เราผ่าน reekadorosey07 @
gmail.com ด้วยข้อมูลต่อไปนี้ชื่อของคุณ: ประเทศ: เมือง: ที่อยู่: จำนวนเงินที่จำเป็น: ระยะเวลา: อายุ: เพศ: อาชีพ: ไม่มีโทรศัพท์: ขอบคุณ Mr.Reekado
สวัสดี !
ตอบลบคุณต้องการบริการสินเชื่อที่ถูกต้องและรวดเร็วหรือไม่?
ขณะนี้เราให้เงินกู้ยืม 3% ในทุกประเภทสินเชื่อธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลสินเชื่อรถยนต์สินเชื่อเพื่อการเกษตรหรือเงินทุนโครงการ เราให้เงินกู้ยืมแก่ บริษัท และบุคคลทั่วโลกรวมหนี้แม้ว่าคุณจะมีคะแนนเครดิตต่ำและหายากที่จะได้รับเงินกู้ยืมจากธนาคารในประเทศหรือสถาบันการเงินใด ๆ ของคุณ , และขณะนี้มีเวลา ahard จัดการกับธนาคารของคุณหรือสถาบันการเงินอื่น ๆ ? คุณต้องการเงินกู้เร่งด่วนถ้าใช่ส่งอีเมลถึงเราผ่านทาง
(ryanloaninvestment001@outlook.com) เราให้สินเชื่อทุกประเภท
Apply Now และรับเงินสดด่วน!
* ยืมระหว่าง 50,000 ถึง 50,000,000 บาท
* เลือกระหว่าง 1 ถึง 30 ปีในการชำระคืน
* ข้อกำหนดและเงื่อนไขของเงินกู้ที่ยืดหยุ่น
แผนการทั้งหมดเหล่านี้และอื่น ๆ ติดต่อเราตอนนี้
ติดต่อเราผ่านทางอีเมล์: สำหรับ บริษัท เงินกู้ที่ให้ความช่วยเหลือฉันนี่คือรายละเอียดการติดต่อของพวกเขา (ryanloaninvestment001@outlook.com)
ความนับถือ
การจัดการ
ติดต่อสินเชื่อของคุณได้ทันที!
การได้รับเงินกู้ถูกต้องตามกฎหมายถือเป็นปัญหาใหญ่สำหรับลูกค้าที่มีปัญหาทางการเงินและต้องการแก้ปัญหา ปัญหาเครดิตและหลักประกันเป็นสิ่งที่ลูกค้ามักกังวลเกี่ยวกับการหาเงินกู้จากผู้ให้กู้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย แต่เราได้สร้างความแตกต่างในอุตสาหกรรมการให้กู้ยืม เราสามารถจัดเงินกู้จากช่วง $ 5,000.00 USD ถึง $ 500,000.000.00 USD ต่ำถึง 3% สนใจกรุณาตอบอีเมลนี้ทันที: billjohnson.loanfirm011@gmail.com
ตอบลบบริการของเรามีดังต่อไปนี้:
การรวมหนี้
สินเชื่อที่อยู่อาศัยที่สอง
สินเชื่อธุรกิจ
สินเชื่อส่วนบุคคล
เงินกู้ระหว่างประเทศ
สินเชื่อสำหรับทุกประเภท
เงินกู้ครอบครัว
เราให้เงินกู้แก่ บริษัท เงินกู้ขนาดเล็กตัวกลางสถาบันการเงินขนาดเล็กที่มีทุนจดทะเบียนไม่ จำกัด สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดหาเงินกู้ติดต่อเราโปรดตอบอีเมลนี้ทันที: billjohnson.loanfirm011@gmail.com
นายบิลจอห์นสัน
สวัสดี!
ตอบลบคุณต้องการเงินกู้หรือไม่? ฉันเป็นผู้ให้กู้ที่จดทะเบียนและเชื่อถือได้ เราเสนอเงินจำนวน 2,000 ยูโร 500,000,000 ยูโรให้กับผู้ที่มีปัญหาทางการเงิน ผู้ที่พยายามจะชำระค่าเล่าเรียน ผู้ที่พยายามซื้อรถยนต์หรือเริ่มต้นธุรกิจที่นั่น ผู้รับเหมา และหน่วยงานของรัฐ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมหรือแบบฟอร์มใบสมัครสินเชื่อติดต่อเราทางอีเมล: (thompson.loanservice@gmail.com)
การจัดการ. whatsapp: +639317518498
ติดต่อสินเชื่อ Speedy เลย !!!